‘ธปท.-แบงก์’ลุยแก้หนี้ เล็งกำหนดDSR หวังให้ผู้กู้มีเงินเหลือใช้

ปัญหาหนี้ครัวเรือน หรือหนี้ของคนไทย ยังเป็นสิ่งที่หน่วยงานภาครัฐแก้ไขปัญหาไม่ได้ แม้จะพยายามมาตลอดหลายปีที่ผ่านมา แต่หนี้สินครัวเรือนเพิ่มสูงมากขึ้นเรื่อยๆ และเมื่อเกิดปัญหารายได้ขาดหาย หรือการเงินสะดุดลง ทำให้กลายเป็นปัญหาของครัวเรือนตามมาได้ในที่สุด ล่าสุดธนาคารแห่งประเทศไทย และสถาบันการเงิน กำลังหาแนวทางแก้ไขปัญหาหนี้ครัวเรือนให้อย่างยั่งยืน

นายฐากร ปิยะพันธ์ ผู้จัดการใหญ่ ธนาคารทหารไทยธนชาต เปิดเผยว่า มาตรการดูแลหนี้ครัวเรือนหลังจากกลุ่มธนาคารหารือกับธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ในเบื้องต้นจะดูเรื่องความเสี่ยงผู้กู้ หากมีความเสี่ยงต่ำ ดอกเบี้ยควรจะต่ำ แต่คนที่มีความเสี่ยงสูง จากเดิมธนาคารอาจเลือกปฏิเสธสินเชื่อ แต่ครั้งนี้อาจขยับเพดานดอกเบี้ยขึ้นให้ดูอยู่ว่าจะรับได้หรือไม่ และจะรับความเสี่ยงได้ระดับไหนบ้าง และยังกำหนดภาระหนี้ต่อรายได้ (ดีเอสอาร์) ว่าผู้กู้ควรมีหนี้เท่าไร และควรจะเหลือเงินไว้ใช้จ่ายเท่าไร ซึ่งยังไม่ได้ข้อสรุปคำพูดจาก สล็อตเว็บตรง

“แต่ละธนาคารต้องดูความเสี่ยงลูกหนี้ พูดคุยกำหนดดีเอสอาร์ เงินควรจะเหลือใช้เท่าไร แต่การพูดคุยไว้ยังไม่มีชัดเจนว่าจะออกมาหน้าตาแบบไหน อะไรอย่างไรบ้าง เพิ่งคุยปลายสัปดาห์ก่อน แต่เดี๋ยวจะมีการขอข้อมูลที่ผ่านมามีการอนุมัติแค่ไหน ปฏิเสธสินเชื่อแค่ไหน กลุ่มไหนที่ธนาคารชอบ กลุ่มไหนที่ไม่ชอบ ซึ่งมาตรการ ธปท. นี้ เป็นภาพรวมหนี้ และอาจเริ่มต้นใช้กับไม่ใช่หนี้หลักประกันก่อน”

สำหรับแนวโน้มสินเชื่อรายย่อยครึ่งปีแรกของทีทีบี แนวโน้มเติบโตดี ยกเว้นสินเชื่อบ้านที่ชะลอจากดอกเบี้ยสูง และผู้ประกอบการชะลอเปิดโครงการใหม่ รวมทั้งมีการจ่ายคืนเงินสินเชื่อ และจะยังมีทิศทางชะลอไปจนถึงสิ้นปี 66 สำหรับพอร์ตสินเชื่อส่วนบุคคลและสินเชื่อบัตรเครดิตในครึ่งปีแรกเติบโต 20% และมีการใช้จ่ายบัตรเครดิต 30% ส่วนสินเชื่อส่วนบุคคลโต 10% ขณะที่สินเชื่อรถยนต์ชะลอลงจากดอกเบี้ยสูงและการคุมเข้มคุณภาพหนี้จากความเสี่ยงหนี้เสีย ที่เป็นข้อกังวลของเครดิตบูโร แต่ยังมีตัวช่วยสินเชื่อรถไฟฟ้าอีวีที่ขยายตัวได้

ด้านรายได้ค่าธรรมเนียม ในด้านการลงทุนชะลอทำให้รายได้ค่าธรรมเนียมจากกองทุนยังไม่กลับมา แต่รายได้มาจากประกันส่วนมาก คาดทั้งปี 66 เติบโต 20% และยังมีแนวโน้มที่จะมีรายได้ค่าธรรมเนียมจากธุรกิจประกันที่โดยปกติจะเติบโตช่วงปลายปี ทั้งนี้ สินเชื่อรายย่อยปล่อยใหม่ ไม่รวมสินเชื่อรถยนต์ ปี 66 คาดว่าจะอยู่ที่ 430,000 ล้านบาท หรือเติบโต 5-6% เทียบช่วงเดียวกันปีก่อน และส่วนใหญ่สินเชื่อส่วนบุคคลและบัตรเครดิตจะขยายตัวดีได้ในปลายไตรมาส 3 ถึงไตรมาส 4 ของทุกปีคำพูดจาก สล็อตเว็บตรง

ปัญหาหนี้ครัวเรือน หรือหนี้ของคนไทย ยังเป็นสิ่งที่หน่วยงานภาครัฐแก้ไขปัญหาไม่ได้ แม้จะพยายามมาตลอดหลายปีที่ผ่านมา แต่หนี้สินครัวเรือนเพิ่มสูงมากขึ้นเรื่อยๆ และเมื่อเกิดปัญหารายได้ขาดหาย หรือการเงินสะดุดลง ทำให้กลายเป็นปัญหาของครัวเรือนตามมาได้ในที่สุด ล่าสุดธนาคารแห่งประเทศไทย และสถาบันการเงิน กำลังหาแนวทางแก้ไขปัญหาหนี้ครัวเรือนให้อย่างยั่งยืน นายฐากร ปิยะพันธ์ ผู้จัดการใหญ่ ธนาคารทหารไทยธนชาต เปิดเผยว่า มาตรการดูแลหนี้ครัวเรือนหลังจากกลุ่มธนาคารหารือกับธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ในเบื้องต้นจะดูเรื่องความเสี่ยงผู้กู้ หากมีความเสี่ยงต่ำ ดอกเบี้ยควรจะต่ำ แต่คนที่มีความเสี่ยงสูง จากเดิมธนาคารอาจเลือกปฏิเสธสินเชื่อ แต่ครั้งนี้อาจขยับเพดานดอกเบี้ยขึ้นให้ดูอยู่ว่าจะรับได้หรือไม่ และจะรับความเสี่ยงได้ระดับไหนบ้าง และยังกำหนดภาระหนี้ต่อรายได้ (ดีเอสอาร์) ว่าผู้กู้ควรมีหนี้เท่าไร และควรจะเหลือเงินไว้ใช้จ่ายเท่าไร ซึ่งยังไม่ได้ข้อสรุปคำพูดจาก สล็อตเว็บตรง “แต่ละธนาคารต้องดูความเสี่ยงลูกหนี้ พูดคุยกำหนดดีเอสอาร์ เงินควรจะเหลือใช้เท่าไร แต่การพูดคุยไว้ยังไม่มีชัดเจนว่าจะออกมาหน้าตาแบบไหน อะไรอย่างไรบ้าง เพิ่งคุยปลายสัปดาห์ก่อน แต่เดี๋ยวจะมีการขอข้อมูลที่ผ่านมามีการอนุมัติแค่ไหน ปฏิเสธสินเชื่อแค่ไหน กลุ่มไหนที่ธนาคารชอบ กลุ่มไหนที่ไม่ชอบ ซึ่งมาตรการ ธปท. นี้ เป็นภาพรวมหนี้ และอาจเริ่มต้นใช้กับไม่ใช่หนี้หลักประกันก่อน” สำหรับแนวโน้มสินเชื่อรายย่อยครึ่งปีแรกของทีทีบี แนวโน้มเติบโตดี ยกเว้นสินเชื่อบ้านที่ชะลอจากดอกเบี้ยสูง และผู้ประกอบการชะลอเปิดโครงการใหม่ รวมทั้งมีการจ่ายคืนเงินสินเชื่อ และจะยังมีทิศทางชะลอไปจนถึงสิ้นปี 66 สำหรับพอร์ตสินเชื่อส่วนบุคคลและสินเชื่อบัตรเครดิตในครึ่งปีแรกเติบโต 20%…